"จรวดขวดน้ำ พาเพลิน"
วันอาทิตย์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
วิธีการทำจรวดขวดน้ำ
การประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
แต่ปากขวกเป๊ปซี่ จะเล็กกว่า ดังนันก่อนใช้
ต้องขยายปากให้เท่ากับขวดโค๊กเสียก่อน
(ฐานยิงของผมใช้ขวดโค๊กเป็นมาตรฐาน)
การขยายปากขวดทำได้ไม่ยาก เครื่องมือ
ขยายปากขวดจะแถมพร้อมกับฐานยิง
การทำจรวดแบบง่าย
ใช้ขวด 2 ใบ ใบแรกทำเป็นที่เก็บลม
อีกใบตัดครึ่ง เอาวส่วนบน ทำเป็นหัวจรวด
แล้วนำไปต่อกับส่วนที่เป็นที่เก็บลม
ซึ่งจะเป็นส่วนหาง ใช้เทปใสหรือกาว
ยึดทั้งสองส่วนให้แน่น ส่วนหัวจรวดใช้ฝาปิด
ที่ด้านหางจรวด ติดปีก 3 หรือ 4 ปีก
หรือมากกว่า ตามต้องการ ควรทดลอง
ว่ากี่ปีกจึงจะดี หรือผลแตกต่างกันอย่างไร
ชนิดไหนจะดี พยายามสังเกตความแตกต่าง
เป้าหมายของการเล่นจรวดขวดน้ำ คือการทดลอง
ค้นคว้า วิจัย ศึกษาเปรียบเทียบ การฝึกการสังเกตุ
และการหาเหตุและผล ฝึกการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ
การทำจรวดขวดน้ำขั้นพัฒนา
เพื่อให้ประสิทธิภาพดีขึ้นจึงจำเป็นต้องพัฒนา
และหาทางที่จะทำให้ดีขึ้น โดยคำนึงถึงปัจจัยหลายๆ
ประการ อาทิ รูปร่าง น้ำหนัก แรงต้าน ปีกหลัง
ฐานยิง แกนนำส่ง ท่อพักลม ฯลฯ
และอีกหลายๆ ประการตามที่นึกว่าจะเป็นผล
ต่อการเคลื่อนที่ ของจรวด
อันดับแรกเตรียมอุปกรณ์ตามภาพ
เพื่อจะนำมาใช้ในการเป่าขวด หรือ
ทดสอบขวด หรืออื่นๆ ในภายหลัง
เมื่อทำเสร์จแล้วลองขันเข้าที่ปากขวดแล้วเติมลม
40 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรือเกือบๆ 3 บาร์
ต่อไปนำไปเป่า
การเป่าขวด
ใช้ไดเป่าผมแบบที่แรงๆหน่อยเป่าไป หมุนไป
สัก 1 นาที การนับ นับว่า 1 พัน 1
1 พัน 2 1 พัน 3 จนครับ 1 พัน 60 ก็จะเป็น
เวลา 60 วินาที แต่อาจใช้เวลา มากกว่า หรือน้อย
กว่านี้ก็ได้ ทั้งนี้ต้องสังเกตให้ดี ขณะเป่าไปได้สักระยะ
จีบที่ก้นขวดก็จะค่อยๆ ขยายออกมา จะได้ตามรูป
ขณะที่ขวดร้อน อากาศในขวดจะมีแรงดันเพิ่มขึ้น
อาจลดลมบ้างก็ได้ เพื่อความปลอดภัย
ผมลองใช้ไดเป่าผมขนาดที่ว่าแรงๆ แล้ว
ปรากฏว่าไม่แรงพอและใช้ได้ไม่ครอบคลุม
ถ้ามีอยู่แล้วก็ไม่เป็นไร แต่หากจะซื้อควรซื้อแบบ
ที่ใช้เป่าฟิล์มหดจะดีกว่า ขนาด 1800 วัตต์
สามารถลดความแรงลงเหลือ 900 วัตต์ได้
ทำให้การใช้งานครอบคลุมทั้งเป่าขวดและเป่าท่อ
การติดปีก
รูปแบบปีก ส่วนใหญ่จะเรียนแบบจรวดจริง
หรือทดลองหลายๆ แบบก็ได้ แบไหนดี
ก็ใช้แบบนั้น ส่วนการติดก็มีหลายแบบ
ในภาพเป็นแบบ พับซ้าย พักขวา ให้แนบกับลำตัว
แล้วหยอกกาวแห้งไวพอประมาณ โรยด้วยแป้ง
โรยตัว ด้วยก็ดี แล้วขัดออกด้วยกระดาษทรายให้เนียน
พับซ้าย พับ ขวา ประมาณ ครึ่งเซ็นต์
รูปร่างปีกอีกแบบหนึ่ง ควรใช้พลาสติคที่แข็งหน่อย
ถ้าใช้พลาสติดอ่อน ผลการยิงไม่ค่อยดี
ส่วนการต่อขวดอีกแบบก็น่าสนใจ
ลองทำดูนะครับ ดูภาพประกอบ
ใช้ขวด 2 ใบตามภาพ
ต่อขวดตามภาพ ผลการยิงน่าสนใจ พบว่าไกลขึ้น
ใส่ปีก โดยแบ่งบัตรเติมเงินเป็น 2ส่วน ตามแนวทะแยงมุม
ตัดโค้งนิดๆ ส่วนจะเป็นรูปแบบอื่นก็ควรลองดู
ที่หัวลองเอากระดาษใส่ลงไปกะให้พอดี เพื่อจะได้
วิธีการทำจรวดขวดน้ำ
แต่ปากขวกเป๊ปซี่ จะเล็กกว่า ดังนันก่อนใช้
ต้องขยายปากให้เท่ากับขวดโค๊กเสียก่อน
(ฐานยิงของผมใช้ขวดโค๊กเป็นมาตรฐาน)
การขยายปากขวดทำได้ไม่ยาก เครื่องมือ
ขยายปากขวดจะแถมพร้อมกับฐานยิง
การทำจรวดแบบง่าย
ใช้ขวด 2 ใบ ใบแรกทำเป็นที่เก็บลม
อีกใบตัดครึ่ง เอาวส่วนบน ทำเป็นหัวจรวด
แล้วนำไปต่อกับส่วนที่เป็นที่เก็บลม
ซึ่งจะเป็นส่วนหาง ใช้เทปใสหรือกาว
ยึดทั้งสองส่วนให้แน่น ส่วนหัวจรวดใช้ฝาปิด
ที่ด้านหางจรวด ติดปีก 3 หรือ 4 ปีก
หรือมากกว่า ตามต้องการ ควรทดลอง
ว่ากี่ปีกจึงจะดี หรือผลแตกต่างกันอย่างไร
ชนิดไหนจะดี พยายามสังเกตความแตกต่าง
เป้าหมายของการเล่นจรวดขวดน้ำ คือการทดลอง
ค้นคว้า วิจัย ศึกษาเปรียบเทียบ การฝึกการสังเกตุ
และการหาเหตุและผล ฝึกการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ
การทำจรวดขวดน้ำขั้นพัฒนา
เพื่อให้ประสิทธิภาพดีขึ้นจึงจำเป็นต้องพัฒนา
และหาทางที่จะทำให้ดีขึ้น โดยคำนึงถึงปัจจัยหลายๆ
ประการ อาทิ รูปร่าง น้ำหนัก แรงต้าน ปีกหลัง
ฐานยิง แกนนำส่ง ท่อพักลม ฯลฯ
และอีกหลายๆ ประการตามที่นึกว่าจะเป็นผล
ต่อการเคลื่อนที่ ของจรวด
อันดับแรกเตรียมอุปกรณ์ตามภาพ
เพื่อจะนำมาใช้ในการเป่าขวด หรือ
ทดสอบขวด หรืออื่นๆ ในภายหลัง
เมื่อทำเสร์จแล้วลองขันเข้าที่ปากขวดแล้วเติมลม
40 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรือเกือบๆ 3 บาร์
ต่อไปนำไปเป่า
การเป่าขวด
ใช้ไดเป่าผมแบบที่แรงๆหน่อยเป่าไป หมุนไป
สัก 1 นาที การนับ นับว่า 1 พัน 1
1 พัน 2 1 พัน 3 จนครับ 1 พัน 60 ก็จะเป็น
เวลา 60 วินาที แต่อาจใช้เวลา มากกว่า หรือน้อย
กว่านี้ก็ได้ ทั้งนี้ต้องสังเกตให้ดี ขณะเป่าไปได้สักระยะ
จีบที่ก้นขวดก็จะค่อยๆ ขยายออกมา จะได้ตามรูป
ขณะที่ขวดร้อน อากาศในขวดจะมีแรงดันเพิ่มขึ้น
อาจลดลมบ้างก็ได้ เพื่อความปลอดภัย
ผมลองใช้ไดเป่าผมขนาดที่ว่าแรงๆ แล้ว
ปรากฏว่าไม่แรงพอและใช้ได้ไม่ครอบคลุม
ถ้ามีอยู่แล้วก็ไม่เป็นไร แต่หากจะซื้อควรซื้อแบบ
ที่ใช้เป่าฟิล์มหดจะดีกว่า ขนาด 1800 วัตต์
สามารถลดความแรงลงเหลือ 900 วัตต์ได้
ทำให้การใช้งานครอบคลุมทั้งเป่าขวดและเป่าท่อ
การติดปีก
รูปแบบปีก ส่วนใหญ่จะเรียนแบบจรวดจริง
หรือทดลองหลายๆ แบบก็ได้ แบไหนดี
ก็ใช้แบบนั้น ส่วนการติดก็มีหลายแบบ
ในภาพเป็นแบบ พับซ้าย พักขวา ให้แนบกับลำตัว
แล้วหยอกกาวแห้งไวพอประมาณ โรยด้วยแป้ง
โรยตัว ด้วยก็ดี แล้วขัดออกด้วยกระดาษทรายให้เนียน
พับซ้าย พับ ขวา ประมาณ ครึ่งเซ็นต์
รูปร่างปีกอีกแบบหนึ่ง ควรใช้พลาสติคที่แข็งหน่อย
ถ้าใช้พลาสติดอ่อน ผลการยิงไม่ค่อยดี
ส่วนการต่อขวดอีกแบบก็น่าสนใจ
ลองทำดูนะครับ ดูภาพประกอบ
ใช้ขวด 2 ใบตามภาพ
ต่อขวดตามภาพ ผลการยิงน่าสนใจ พบว่าไกลขึ้น
ใส่ปีก โดยแบ่งบัตรเติมเงินเป็น 2ส่วน ตามแนวทะแยงมุม
ตัดโค้งนิดๆ ส่วนจะเป็นรูปแบบอื่นก็ควรลองดู
ที่หัวลองเอากระดาษใส่ลงไปกะให้พอดี เพื่อจะได้
วันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
ความสำคัญ
จรวดขวดน้ำ เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ทำจากขวดพลาสติกน้ำอัดลม ใช้แรงในการขับเคลื่อนด้วยน้ำหรือแป้ง โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์แรงดันของอากาศที่บรรจุอยู่ภายใน ช่วยให้เกิดการเคลื่อนที่ไปยังจุดหมาย จรวจขวดน้ำเป็นที่นิยมในหมู่นักประดิษฐ์และผู้ที่รักในการทดลอง ทำการพัฒนาได้หลากหลายรูปแบบ การประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ นอกจากได้ความรู้ และเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์แล้ว จัดเป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน ช่วยให้เกิดกระบวนการคิด การพัฒนา เกิดทักษะ และแก้ไขปัญหาได้ ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปให้ความสนใจ มีการจัดแข่งขันระดับประเทศ และมีการจัดตั้งเป็นชมรมอีกด้วย
จุดมุ่งหมาย
1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์
2. เพื่อให้เกิดทักษะในการคิด พัฒนา ประดิษฐ์จรวดขวดน้ำได้หลายรูปแบบ
3. เพื่อเป็นการนำวัสดุที่ใช้แล้วนำมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์
2. เพื่อให้เกิดทักษะในการคิด พัฒนา ประดิษฐ์จรวดขวดน้ำได้หลายรูปแบบ
3. เพื่อเป็นการนำวัสดุที่ใช้แล้วนำมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ หลักการทางวิทยาศาสตร์
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ขั้นตอนในการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
3. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะ ในการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
4. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความตระหนัก รักษาสิ่งแวดล้อม นำวัสดุใช้แล้วมาทำให้เกิดประโยชน์
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ขั้นตอนในการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
3. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะ ในการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
4. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความตระหนัก รักษาสิ่งแวดล้อม นำวัสดุใช้แล้วมาทำให้เกิดประโยชน์
เนื้อหาหลักสูตร
ประกอบด้วยเนื้อหา 4 เรื่อง ดังนี้
1. หลักการทางวิทยาศาสตร์ กฎการเคลื่อนที่
2. ขั้นตอนการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
3. การทดสอบการเคลื่อนที่
4. วิธีเล่นจรวดขวดน้ำให้ปลอดภัย
2. ขั้นตอนการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
3. การทดสอบการเคลื่อนที่
4. วิธีเล่นจรวดขวดน้ำให้ปลอดภัย
เวลาเรียน
หลักสูตรจรวดขวดน้ำกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 10 ชั่วโมง
ภาคทฤษฎี 3 ชั่วโมง
ภาคปฏิบัติ 7 ชั่วโมง
ภาคทฤษฎี 3 ชั่วโมง
ภาคปฏิบัติ 7 ชั่วโมง
แหล่งการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน
1. ใบความรู้ จรวดขวดน้ำกับหลักการทางวิทยาศาสตร์
2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
3. แผนภาพ ขั้นตอน การประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
4. บอร์ด นิทรรศการ ภาพ การแข่งขันจรวดขวดน้ำ
5. จรวดขวดน้ำสำเร็จรูป
1. ศึกษาความรู้ด้านทฤษฎี หลักการทางวิทยาศาสตร์
2. ฝึกปฏิบัติการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
3. ฝึกปฏิบัติ ยิงจรวดขวดน้ำ ให้ลงตรงเป้าที่กำหนด
4. ประกวดจรวดขวดน้ำ แข่งขันการยิงจรวดขวดน้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ หลักการทางวิทยาศาสตร์
2. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจขั้นตอนในการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
3. ผู้เรียนเกิดทักษะ ในการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
4. ผู้เรียนเกิดความตระหนัก รักษาสิ่งแวดล้อม นำวัสดุใช้แล้วมาทำให้เกิดประโยชน์
2. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจขั้นตอนในการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
3. ผู้เรียนเกิดทักษะ ในการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
4. ผู้เรียนเกิดความตระหนัก รักษาสิ่งแวดล้อม นำวัสดุใช้แล้วมาทำให้เกิดประโยชน์
โครงสร้างเนื้อหาและหลักสูตร
ประกอบด้วยเนื้อหา 4 เรื่อง ดังนี้
เรื่องที่ 1 หลักการทางวิทยาศาสตร์ กฎการเคลื่อนที่ จำนวน 3 ชั่วโมง
1.1 ความเป็นมาของจรวดขวดน้ำ
1.2 กฎการเคลื่อนที่
1.3 แรงและน้ำหนัก
เรื่องที่ 1 หลักการทางวิทยาศาสตร์ กฎการเคลื่อนที่ จำนวน 3 ชั่วโมง
1.1 ความเป็นมาของจรวดขวดน้ำ
1.2 กฎการเคลื่อนที่
1.3 แรงและน้ำหนัก
เรื่องที่ 2 ขั้นตอนการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ จำนวน 3 ชั่วโมง
2.1 วัสดุและอุปกรณ์
2.2 ขั้นตอนการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
เรื่องที่ 3 การทดสอบการเคลื่อนที่ จำนวน 3 ชั่วโมง
3.1 วิธีบรรจุน้ำ/ แป้ง เข้าไปในจรวดขวดน้ำ
3.2 การตั้งจรวดในฐานยิงจรวด
3.3 การอัดแรงดันอากาศ
3.4 การยิงลงจุดเป้าหมาย
2.1 วัสดุและอุปกรณ์
2.2 ขั้นตอนการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ
เรื่องที่ 3 การทดสอบการเคลื่อนที่ จำนวน 3 ชั่วโมง
3.1 วิธีบรรจุน้ำ/ แป้ง เข้าไปในจรวดขวดน้ำ
3.2 การตั้งจรวดในฐานยิงจรวด
3.3 การอัดแรงดันอากาศ
3.4 การยิงลงจุดเป้าหมาย
เรื่องที่ 4 วิธีเล่นจรวดขวดน้ำให้ปลอดภัย จำนวน 1 ชั่วโมง
4.1 ข้อควรระวังในการเล่น
4.1 ข้อควรระวังในการเล่น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)